การเรียกใช้โปรแกรม SPSS For Windows
มีขั้นตอนง่าย ๆ ดังนี้
คลิก Start -> All Programs -> SPSS for Windows -> SPSS 12.0 for Windows
หรือ Double Click ไอคอนบนหน้าจอ Windows ถ้าปรากฏหน้าจอ What would you like to do? ให้คลิกสี่เหลี่ยมด้านล่างซ้ายให้มีเครื่องหมายถูก แล้วคลิกปุ่ม OK คลิกปุ่ม Cancel
เกี่ยวกับโปรแกรม SPSS For Windows
ส่วนประกอบหลักของ
SPSS FOR WINDOWS
-Title Bar บอกชื่อไฟล์
-Menu Bar คำสั่งการทำงาน
-Cell Editor กำหนดค่าตัวแปร
-Cases ชุดของตัวแปร
-Variable กำหนดชื่อตัวแปร
-View Bar มีสองส่วน
--Variable View
สร้างและแก้ไขโครงสร้า้งตัวแปร
--Data View
เพิ่มและแก้ไขตัวแปร
-Status Bar แสดงสถานการณ์ทำงาน
การป้อนข้อมูลจากหน้าจอ data
ขั้นตอน
1. เปิด SPSS Data Editor
File -> New -> Data
2. กำหนดชื่อและรายละเอียด
จากหน้าจอ Variable View
3. ป้ิอนข้อมูล Data View
4. บันทึกข้อมูล
File -> Save
ให้หน้าจอ data แสดงภาษาไทย
มีขั้นตอนดังนี้
View -> Fonts
เลือก Font และ Size ตามต้องการ
คลิก Ok
หมายเหตุ
Font ไทยส่วนใหญ่จะลงท้ายด้วย UPC
กำหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปรจากหน้าจอ Variable View
มีขั้นตอนดังนี้
ที่หน้าจอ SPSS Data Editor เรียกหน้าจอ Variable View ทำได้ 2 วิธี
1. ดับเบิลคลิกตรงคอลัมน์ของบรรทัดแรก
2. คลิกแถบ Variable View ที่อยู่ด้านล่าง
เมื่อได้หน้าต่างของ Variable View
1. Name ชื่อตัวแปร ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Name เช่น Sex
2. Type ประเภทของตัวแปร
เลือก Numeric Width=1 Decimal Places=0 คลิกปุ่ม OK
3. Label กำหนดข้อความขยายชื่อตัวแปร เพื่ออธิบายชื่อตัวแปรและแสดงออกทางผลลัพธ์
ให้พิมพ์ตรงคอลัมน์ Label เช่น เพศ
4. Values กำหนดคำอธิบายให้กับค่าตัวแปร
5. Missing กำหนดค่าที่ไม่นำไปวิเคราะห์ มี 2 แบบ
5.1 User Missing ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนด เช่น 9, 99, 999, …
5.2 System Missing โปรแกรมจะกำหนดให้เอง
6. Column จำนวนความกว้างของคอลัมน์ คือจำนวนความกว้างมากสุดของ ค่าตัวแปร หรือ ชื่อตัวแปร หรือ label ตัวแปร
จากตัวอย่าง ชื่อตัวแปร และ label ตัวแปร มีความกว้างมากสุดเท่ากับ 3
ให้พิมพ์ 4 (ความกว้างมากสุดเท่ากับ 3 บวกเผื่อไว้ 1)
7. Align ให้แสดงค่าตัวแปร ชิดซ้าย กึ่งกลาง ชิดขวา
8. Measure ระดับการวัดของข้อมูล
7.1 Scale (Interval, Ratio)
7.2 Ordinal
7.3 Nominal
ให้กำหนดชื่อและรายละเอียดของตัวแปรให้ครบทุกตัว
ป้อนข้อนข้อมูลจาก Data View
ขั้นตอน หน้าต่าง Data View
Data View เป็นแบบตาราง การป้อนข้อมูลจะคล้ายกับ Excel
บรรทัดแรก จะเป็นชื่อตัวแปร
บรรทัดต่อไป จะเป็นข้อมูล ดูจำนวนข้อมูล
ไปรายการสุดท้าย กดปุ่ม Ctrl+End
กลับไปรายการแรก กดปุ่ม Ctrl+Home
การ Show Label (View -> Value Labels)
การสร้างแบบสอบถามเป็นวิธีอีกวิธีหนึ่ง
ที่ใช้สำรวจ ในการทำวิจัยหรือทำโพล
ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายในการสำรวจ
ตัวอย่างแบบสอบถาม
แบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ๆ 3 หัวข้อ
1. เพศ
ชาย | หญิง
2. สาขาวิชา
--เทคโนโลยีและการสื่อสาร
--อุตสาหกรรม
--จิตวิทยา
--ภาษาไทย
--ภาษาอังกฤษ
--บริหารการศึกษา
3. ระดับความคิดเห็น
แบ่งออกเป็น 5 ระดับ
5 = พึงพอใจมากที่สุด
4 = พึงพอใจมาก
3 = พึงพอใจปานกลาง
2 = พึงพอใจน้อย
1 = ไม่พึงพอใจ
การกำหนดตัวแปร
หลักการ
1. การกำหนดชื่อ (Name) กำหนดดังนี้
ข้อ 1 เพศ = Sex
ข้อ 2 สาขาวิชา = Major
ข้อ 3 ระดับความคิดเห็น
ข้อ 3.1 = Topic1
ข้อ 3.2 = Topic2
ข้อ 3.3 = Topic3
ข้อ 3.4 = Topic4
ข้อ 3.5 = Topic5
2. กำหนดค่าตัวแปร (Value) ดังต่อไปนี้
Sex มีได้ 2 ค่าคือ ชาย, หญิง
Major มี 6 ค่าคือ
เทคโนโลยีและการสื่อสาร
อุตสาหกรรม
จิตวิทยา
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
บริหารการศึกษา
Topic 1,Topic 2,Topic 3,
Topic 4,Topic 5
มีค่าตัวแปรที่เหมือนกัน 5 ค่าคือ
พึงพอใจมากที่สุด
พึงพอใจมาก
พึงพอใจปานกลาง
พึงพอใจน้อย
ไม่พึงพอใจ
3. กำหนดมาตราในการวัด (Measure)
Sex = Norminal
Major = Norminal
Topic 1,Topic 2,Topic 3,Topic 4,Topic 5 = Ordinal
การกำหนดตัวแปร SEX
มีขั้นตอนดังนี้ (อยู่ในหน้าต่าง Variable View)
1.Name กำหนดว่า Sex
2. Type ให้กำหนดเป็น String
โดยคลิกที่ปุ่มสีเทา แล้ว เลือกที่ String
แล้วกด Ok
3. Width และ Decimals ไม่ต้องกำหนดส่วน Lable ให้กำหนดเป็น Sex Lable นี้จะแสดงผลในกราฟเมื่อเราเริ่มทำการวิเคราะห์ข้อมูล
4. Value ให้คลิกที่ปุ่มสีเทา จากนั้นจะพบกรอบ Value Lable
ในช่อง Value กำหนดเป็น 1 และ Value Lable กำหนดเป็นชาย แล้วกดปุ่ม Add
จากนั้นกำหนดเพิ่ม Value เป็น 2 และ Value Lable เป็นหญิง แล้วคลิกปุ่ม Add เช่นกัน เรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Ok ดังภาพ ส่วน Missing, Columns, และ Align ไม่ต้องกำหนด
5. Measure ให้คลิกที่ปุ่มสีเทา จากนั้นเลือก Norminal
การกำหนดตัวแปร Major
มีขั้นตอนดังนี้ (อยู่ในหน้าต่าง Variable View)
1. Name กำหนดว่า Major
2. Type ให้กำหนดเป็น string โดยการคลิกที่ปุ่มสีเทา แล้ว String จากนั้นกดปุ่ม OK
3. Width และ Decimals ไม่ต้องกำหนดส่วน Lable ให้กำหนดเป็น Major Lable นี้จะแสดงผลในกราฟเมื่อเราเริ่มทำการวิเคราะห์ข้อมูล
4. ขั้นตอนกำหนด Value นี้เราจะกำหนดเป็นตัวเลขแทนชื่อสาขาวิชาต่างๆ ดังนี้
1 = เทคโนโลยีและการสื่อสาร
2 = อุตสาหกรรม
3 = จิตวิทยา
4 = ภาษาไทย
5 = ภาษาอังกฤษ
6 = บริหารการศึกษา
จากนั้นเราก็จะกำหนดลงไปในช่อง Value โดยให้คลิกที่ปุ่มสีเทา แล้วจะพบกรอบ Value Lable และทำตามขั้นตอนดังนี้
ช่อง Value กำหนดเป็น 1 และ Value Lable กำหนดเป็นเทคโนโลยีและการสื่อสาร แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 2 และ Value Lable กำหนดเป็นอุตสาหกรรม แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 3และ Value Lable กำหนดเป็นจิตวิทยา แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 4และ Value Lable กำหนดเป็นภาษาไทย แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 5และ Value Lable กำหนดเป็นภาษาอังกฤษ แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 6และ Value Lable กำหนดเป็นบริหารการศึกษา แล้วกดปุ่ม Add
5. Measure ให้คลิกที่ปุ่มสีเทา จากนั้นเลือก Norminal
การกำหนดตัวแปร Topic
มีขั้นตอนดังนี้ (อยู่ในหน้าต่าง Variable View)
1. ในช่อง Name กำหนดเป็น Topic1 Topic2, Topic3, Topic4 และ Topic5 ลำดับ
2. Type ให้กำหนดเป็น Numeric โดยการคลิกที่ปุ่มสีเทาแล้วเลือก Numeric จากนั้นกดปุ่ม OK
ส่วนตังแปรชุดที่ 4 ถึง 5 ก็กำหนดเป็น Numeric
3. ในชุดตัวแปร 3 ถึง 7 Lable ให้กำหนดเป็น Topic1, Topic2, Topic3, Topic4 และ Topic5 ตามลำดับ ส่วน Width และ Decimals ไม่ต้องกำหนด
4. ขั้นตอนกำหนด Value นี้เราจะกำหนดเป็นตัวเลขแทนค่าระดับความพึ่งพอใจในข้อคำถามต่างๆ ดังนี้
ค่าตัวแปรของตัวแปรชุดที่ 3 ถึง 7มีดังนี้
พึ่งพอใจมากที่สุด
พึ่งพอใจมาก
พึ่งพอใจปานกลาง
พึ่งพอใจน้อย
ไม่พึ่งพอใจ
และเราได้กำหนดค่า Value Lable โดยใช้ตัวเลขแทนดังนี้
5 = พึ่งพอใจมากที่สุด
4 = พึ่งพอใจมาก
3 = พึ่งพอใจปานกลาง
2 = พึ่งพอใจน้อย
1 = ไม่พึ่งพอใจ
จากนั้นเราก็จะกำหนดลงไปในช่อง Value โดยให้คลิกที่ปุ่มสีเทา แล้วจะพบกรอบ Value Lable และทำตามขั้นตอนดังนี้
ช่อง Value กำหนดเป็น 5 และ Value Lable กำหนดเป็น พึ่งพอใจมากที่สุด แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 4 และ Value Lable กำหนดเป็น พึ่งพอใจมาก แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 3 และ Value Lable กำหนดเป็น พึ่งพอใจปานกลาง แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 2 และ Value Lable กำหนดเป็น พึ่งพอใจน้อย แล้วกดปุ่ม Add
ช่อง Value กำหนดเป็น 1 และ Value Lable กำหนดเป็น ไม่พึ่งพอใจ แล้วกดปุ่ม Add
5. Measure ให้คลิกที่ปุ่มสีเทา จากนั้นเลือก Ordinal
Data Entry
Data ที่เราจะ Entry ได้มาจากการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม และทำการลงคะแนนตัวแปรของแต่ละชุดข้อมูลไว้บนแบบลงคะแนน
การป้อนข้อมูลลง Data Editer
ขั้นตอน (ในหน้าต่าง Data View)
1. คลิกที่ Data View
2.จากนั้นเราก็จะได้ส่วนนำเข้าข้อมูล Data Entry ที่มีหัวตารางเป็นไปตามที่เราได้กำหนดตัวแปรไว้แล้ว ในส่วนนี้เราสามารถทำการนำเข้าข้อมูล Data Entry ตามตารางข้อมูลข้างต้นได้เลย
3. เรียบร้อยแล้วเราก็ทำการ Save ข้อมูลโดยการกดคลิกที่ปุ่ม Save จะได้กรอบ Save data
กำหนดสถานที่จัดเก็บข้อมูลในช่อง Save in และกำหนดชื่อ File ในช่อง File name File ที่ได้จะมีนามสกุลเป็น sav
การวิเคราะห์ข้อมูล
มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกที่เมนู Analyze เลือก Descriptive Statistic และเลือก Frequencies
2. จากนั้นเราจะได้กรอบ Frequencies
กรอบ Frequencies ทางช่องซ้ายมือเป็นตัวแปรต่างๆ ที่ได้จากแบบสอบถาม ทางช่องขวามือจะเป็นส่วนเลือกตัวแปรเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
3. เราจะเลือกตัวแปรโดยการคลิกที่ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ทางซ้ายมือ จากนั้นคลิกปุ่มเลือก(สามเหลี่ยมสีดำ)ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ก็จะตกไปอยู่ทางช่องขวามือ ในที่นี้ให้เลือกทั้งหมดทุกตัวแปร
4.คลิกปุ่ม Statistics แล้วจะได้กรอบ Frequencies Statistics
5. เลือกประเภทการวิเคราะห์ข้อมูล ในที่นี้เราจะวิเคราะห์ Central Tendency และ Dispersion โดยส่วน Central Tendency เลือก Mean, Median, Mode, Sum และส่วน Dispersion เลือก Std. deviation, Minimum, Maximum
เลือกเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Continue
เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statistics
6. ต่อไปให้คลิกปุ่ม Charts จะได้กรอบ Frequencies Charts
ในส่วน Frequencies Charts นี้ท่านสามารถเลือก Chart Type ว่าต้องการเป็น Charts ชนิดใด ในที่นี้ให้เลือก Bar charts แล้วคลิก Continue
7. เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statistics ดังภาพ จากนั้นคลิกปุ่ม OK ก็เป็นอันเสร็จ
1. คลิกที่เมนู Analyze เลือก Descriptive Statistic และเลือก Frequencies 2. จากนั้นเราจะได้กรอบ Frequencies กรอบ Frequencies ทางช่องซ้ายมือเป็นตัวแปรต่างๆ ที่ได้จากแบบสอบถาม ทางช่องขวามือจะเป็นส่วนเลือกตัวแปรเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล 3. เราจะเลือกตัวแปรโดยการคลิกที่ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ทางซ้ายมือ จากนั้นคลิกปุ่มเลือก(สามเหลี่ยมสีดำ)ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ก็จะตกไปอยู่ทางช่องขวามือ ในที่นี้ให้เลือกทั้งหมดทุกตัวแปร 4.คลิกปุ่ม Statistics แล้วจะได้กรอบ Frequencies Statistics 5. เลือกประเภทการวิเคราะห์ข้อมูล ในที่นี้เราจะวิเคราะห์ Central Tendency และ Dispersion โดยส่วน Central Tendency เลือก Mean, Median, Mode, Sum และส่วน Dispersion เลือก Std. deviation, Minimum, Maximum เลือกเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Continueเมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statistics 6. ต่อไปให้คลิกปุ่ม Charts จะได้กรอบ Frequencies Charts ในส่วน Frequencies Charts นี้ท่านสามารถเลือก Chart Type ว่าต้องการเป็น Charts ชนิดใด ในที่นี้ให้เลือก Bar charts แล้วคลิก Continue 7. เมื่อคลิกปุ่ม Continue จะกลับมาที่กรอบ Frequencies Statistics ดังภาพ จากนั้นคลิกปุ่ม OK ก็เป็นอันเสร็จ